วันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2562

ใบงาน เรื่อง การใช้โปรแกรม VB

 ประวัติความเป็นมาของภาษา Visual Basic
          ภาษา BASIC ถูกสร้างในปี ค.ศ. 1963 โดย Hohn Keneny และ Thomas Kurtz ที่วิทยาลัย Dartmouth ในเบื้องต้นพวกเขามีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาภาษา Basic ขึ้น เพื่อใช้ในการสอนแนวในการเขียนโปรแกรม โดยเน้นที่รูปแบบง่าย ๆ เพื่อสะดวกในการใช้งาน  ในปี 1970 Microsoftได้เริ่มผลิตตัวแปรภาษา Basic ใน Rom ขึ้น เช่น Chip Radio Sheek TRS-80 เป็นต้น ต่อมาได้พัฒนาเป็น GWBasic ซึ่ง เป็น Interpreter ภาษาที่ใช้กับ MS-Dos และในปี 1982 Microsoft QuickBaic ได้รับการพัฒนาขั้นโดยเพิ่มความสามารถในการรันโปรแกรมให้เป็น Executed Program รวมทั้งทำให้ Basicมีความเป็น "Structured Programming" มากขึ้น โดยการตัด Line Number ทิ้งไป เพื่อลบข้อกล่าวหาว่าเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีโครงสร้างในลัก าษณะSpaghetti Code มาใช้รุปแบบของ Subprogram และ User Defined รวมทั้งการใช้ Structured Data Type และการพัฒนาการใช้งานด้านกราฟฟิกให้มีการใช้งานในระดับที่สูงขึ้น รวมทั้งมีการใช้เสียงประกอบได้เหมือนกับภาษาคอมพิวเตอร์อื่น ๆ เช่น Turbo C และ Turbo Pascal เป็นต้น
    
Visual Basicเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมในการนำมาใช้งานพัฒนาโปรแกรมบน ระบบ Windows เนื่องจาก เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้เทคโนโลยีในลักษณะ Visualizeนั่นก็คือจะสะดวกในการหยิบเครื่องไม้เครื่องมือที่โปรแกรมได้จัด เตรียมไว้ให้สำหรับออกแบบหน้าจอและสิ่งต่าง ๆ สำหรับในการเขียนโปรแกรมให้เรียบร้อย ซึ่งแตกต่างจากสมัยก่อนเวลาจะออกแบบหน้าจอก็ยังคงต้องมานั่งเขียน  Source Code ให้ลำบาก
    
Visual Basicเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรมขึ้นใช้งาน ที่ใช้ได้ตั้งแต่ระดับต้น เพื่อใช้สร้างโปรแกรมง่าย ๆ บน Windows หรือโปรแกรมเมอร์ระดับกลาง ที่จะเรียกใช้ฟังชั่นต่าง ๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนโปรแกรมเมอร์ระดับมืออาชีพ ที่จะพัฒนาโปรแกรมในระดับสูง  โดยการใช้ Object Linking and Embedding (OLE) และ Application Programming Interface (API) ของระบบ windows มาประกอบการเขียนโปรแกรม

 Visual Basic ทำอะไรได้บ้าง
เป็นเครื่องมือที่ใช้สร้างโปรแกรมต่างๆ  เช่น
-  โปรแกรมที่รันบนระบบปฏิบัติการ   windows เช่น  โปรแกรมคำนวณเลข
-  โปรแกรมฐานข้อมูล เช่น  Microsoft  access , Microsoft  SQL server
-  คอมโพแน้นต์ทางด้าน Active X
-  โปรแกรมที่รันบนอินเตอร์เน็ต
  ส่วนประกอบของ Visual Basic
โดยทั่วไป เราจะใช้   Project  Standard . EXE ซึ่งเป็นการเขียนโปรแกรมที่รันบนวินโดวส์
Project  คือ กลุ่มของ File  ที่เราจะนำมารวมกันเพื่อสร้างโปรแกรม
รายระเอียดของส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าจอ
  • Menu bar 
  • Tool bar
  • Tool box
  • Project  explorer
  • Properties  window
  • Form
  หลักในการเขียนโปรแกรมใน Visual Basic ได้แบ่งออกเป็น  2  ขั้นตอนหลัก คือ
  • การออกแบบหน้าจอของโปรแกรม เป็นส่วนที่ใช้ติดต่อกับผู้ใช้ เรียกว่า  ยูสเซอร์อินเตอร์เฟส : user interface 
  • การเขียนโปรแกรม เป็นการกำหนดคุณสมบัติของคอนโทรล บนฟอร์มให้เหมาะสม และเขียนคำสั่งตอบสนองอีเว็นต์

  


การออกแบบหน้าจอของโปรแกรมด้วยคอนโทรล

คอนโทรล (Control)   เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบคอนโทรลที่เป็นพื้นฐาน
เท็กบ็อกซ์  text box ใช้รับข้อมูลจากผู้ใช้
เลเบล (Label)  ใช้แสดงข้อมูลบางอย่างแก่ผู้ใช้
ปุ่มคำสั่ง  (Command button)  ให้ผู้ใช้คลิกเมาส์เพื่อทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานบางอย่าง
คุณสมบัติ (Properties) คือ ลักษณะต่างๆ  ของคอนโทรลที่ถูกนำมาวางบนฟอร์ม ที่เราสามารถกำหนดได้เช่น  ข้อความที่ปรากฏบนคอนโทรล ,  รูปแบบฟอนต์
  • เท็กบ็อกซ์  text box มีคุณสมบัติ  text  ที่ใช้กำหนดข้อความที่จะแสดง
  • เลเบล (Label)  มีคุณสมบัติ  Caption  ที่ใช้กำหนดข้อความที่จะแสดง
  • ปุ่มคำสั่ง  (Command button)  มีคุณสมบัติ  caption  ที่ใช้กำหนดข้อความที่จะแสดง

ใบงาน เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์

ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์หลักๆ 
1. โปรเซสเซอร์ (Processor) นั่นก็คือหน่วยประผลกลางหรือที่รู้จักกันในนามของซีพียู (CPU) นั่นเอง หรือเรียกว่าซิป ซึ่งส่วนนี้มีความสำคัญมากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะว่ามีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนเข้ามา ซึ่งซีพียูนั้นมีรุ่นต่างๆ ออกมาวางขายตามท้องตลาดมากมาย ซึ่งแต่ละรุ่นก็ราคาแตกต่างกันออกไป

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ แยี
2.เมนบอร์ด (Mainboard)   ทำหน้าที่ ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ซีพียู ไปจนถึงหน่วยความจำแคช หน่วยความจำหลัก ฮาร์ดดิกส์ ระบบบัส บนเมนบอร์ดประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆ มากมาย  เมนบอร์ดที่ใช้งานในปัจจุบันนั้นส่วนใหญ่เป็นแบบ ATX เกือบทั้งหมด


3. CD-Rom Drive   ทำหน้าที่   อ่านข้อมูงที่บันทึกในแผ่นซีดี

4.การ์ดจอภาพ (VGA card)   มีหน้าที่  ส่งข้มูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ไปแสดงผลยังจอภาพ





5.จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์แสดงผลข้อมูลออกมาเป็นตัวเลข ตัวอักษรข้อความ ภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว มีลักษณะคล้ายจอโทรทัศน์

6. หน่วยความจำ (Memory) หรือ RAM นั่นเอง ซึ่ง RAM นั้นเป็นหน่วยความจำหลักที่จำเป็นในการเก็บข้อมูลต่างๆ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าหน่วยความจำสำรองนั่นเอง ก็คือจะเก็บข้อมูลชั่วคราว ซึ่งหน่วยความจำแรมจะทำหน้าที่เก็บชุดคำสั่งและข้อมูลที่ระบบคอมพิวเตอร์กำลังทำงานอยู่ด้วย


7.แป้นพิมพ์ (Keyboard) เป็นอุปกรณ์สำหรับนำเข้าข้อมูลขั้นพื้นฐานทำหน้าที่เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับระบบคอมพิวเตอร์โดยส่งคำสั่งหรือข้อมูลจากผู้ใช้ไปสู่หน่วยประมวลผลในระบบคอมพิวเตอร์ ภายในแป้นพิมพ์จะมีแผงวงจรหลักที่จะประกอบด้วยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์จำนวนมากซึ่งมีลักษณะเป็นแผ่นบางๆที่ถูกฉาบด้วยหมึกที่เป็นตัวนำไฟฟ้าเมื่อถูกกดจนติดก็จะมีกระแสไฟฟ้าไหลในตัววงจรเมื่อผู้ใช้กดแป้นใดแป้นหนึ่งข้อมูลในรูปของสัญญาณไฟฟ้าจากแป้นกดแต่ละแป้นจะถูกเปรียบเทียบรหัส(Scan Code) กับรหัสมาตรฐานของแต่ละแป้นที่กด เพื่อเปลี่ยนให้เป็นตัวอักษรตัวเลขหรือสัญลักษณ์ไปแสดงบนจอภาพ
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ แป้นพิมพ์หรือคีย์บอร์ด
        แป้นพิมพ์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า คล้ายแป้นพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ดีดโดยจะมีปุ่มตัวอักษร สัญลักษณ์ และอักขระต่างๆตามมาตรฐานสากลแต่มีแป้นกดที่ทำหน้าที่พิเศษเพิ่มขึ้น ซึ่งจะมีปุ่มต่างๆ ทั้งสิ้น 101 ปุ่มแต่ปัจจุบันอาจเพิ่มปุ่มพิเศษมากขึ้นอีกเพื่อสนับสนุนการใช้งานกับโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมาใหม่ๆ

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ แป้นพิมพ์หรือคีย์บอร์ด

8.เมาส์ (Mouse) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้บังคับตัวชี้ (Mouse Pointer) บนจอภาพเพื่อเลือกคำสั่งต่างๆแทนการป้อนคำสั่งทางคีย์บอร์ด ช่วยในการทำงานสะดวกและรวดเร็ว มีรูปร่างคล้ายหนูจึง เรียกว่า เมาส์
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เม้าส์

9.เคส(Case)  ทำหน้าที่ ทำหน้าที่ ป้องกันอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทุกชิ้นด้านในเพื่อไม่ให้ชิ้นส่วนที่สำคัญภายในได้รับความเสียหาย ที่ตัวเครื่องจะเห็นแต่ CD-ROM Driver Disk  , ปุ่ม Power ปุ่ม Restart ที่ติดตั้งอยู่ภายนอก

10.แหล่งจ่ายไฟ(Power Supplyมีหน้าที่ แปลงไฟฟ้าบ้านมาเป็นไฟฟ้าที่ใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์


ใบงาน เรื่อง ผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต

ใบงาน เรื่อง ผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต

https://docs.google.com/document/d/1mr2GnJOJYma9_bESKCHsJlF7ykz6XlyknsFRugv9blo/edit?usp=sharing

วันเสาร์ที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2562

ใบงาน เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ

ความหมายและความสาคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System) เป็นระบบย่อยหนึ่งในระบบ สารสนเทศเพื่อการจัดการ โดยที่ระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะช่วยผู้บริหารในเรื่องการตัดสินใจใน เหตุการณ์หรือกิจกรรมทางธุรกิจที่ไม่มีโครงสร้างแน่นอน หรือกึ่งโครงสร้าง ระบบสนับสนุนการ ตัดสินใจอาจจะใช้กับบุคคลเดียวหรือช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเป็ นกลุ่ม นอกจากนั้น ยังมีระบบ สนับสนุนผู้บริหารเพื่อช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ได้เริ่มขึ้นในช่วง ปี ค.ศ. 1970 โดยมีหลายบริษัทเริ่มที่จะพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อที่จะช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจปัญหาที่ไม่มีโครงสร้างที่แน่นอน หรือกึ่ง โครงสร้างโดยข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงตลอด ซึ่งระบบสารสนเทศเดิมที่ใช้ในลักษณะระบบการ ประมวลผลรายการ (Transaction processing system) ไม่สามารถกระทาได้ นอกจากนั้นยังมี วัตถุประสงค์เพื่อลดแรงงาน ต้นทุนที่ต่าลงและยังช่วยในเรื่องการวิเคราะห์การสร้างตัว แบบ (Model) เพื่ออธิบายปัญหาและตัดสินใจปัญหาต่างๆ จนกระทั่งปี ค.ศ. 1980 ความพยายาม ในการใช้ระบบนี้เพื่อช่วยในการสนับสนุนการตัดสินใจได้แพร่ออกไป ยังกลุ่มและองค์การต่างๆ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ คืออะไร DSS เป็ นซอฟแวร์ที่ช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการ การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ ข้อมูล และการสร้างตัวแบบที่ซับซ้อน ภายใต้ซอฟต์แวร์เดียวกัน นอกจากนั้น DSS ยังเป็ นการ ประสานการทางานระหว่างบุคลากรกับเทคโนโลยีทางด้านซอฟต์แวร์ โดยเป็นการกระทาโต้ตอบกัน เพื่อแก้ปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง และอยู่ภายใต้การควบคุมของผู้ใช้ตั้งแต่เริ่มต้นถึงสิ้นสุดขั้นตอน หรืออาจกล่าวได้ว่า DSS เป็ นระบบที่โต้ตอบกันโดยใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อหาคาตอบที่ง่าย สะดวก รวดเร็วจากปัญหาที่ไม่มีโครงสร้างที่แน่นอน ดังนั้นระบบการสนับสนุนการตัดสินใจ จึงประกอบด้วย ชุดเครื่องมือ ข้อมูล ตัวแบบ (Model) และทรัพยากรอื่นๆ ที่ผู้ใช้หรือนักวิเคราะห์นามาใช้ในการ ประเมินผลและแก้ไขปัญหา ดังนั้นหลักการของ DSS จึงเป็นการให้เครื่องมือที่จาเป็นแก่ผู้บริหาร ใน การวิเคราะห์ข้อมูลที่มีรูปแบบที่ซับซ้อน แต่มีวิธีการปฏิบัติที่ยืดหยุ่น DSS จึงถูกออกแบบเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทางาน ไม่เพียงแต่การตอบสนองในเรื่องความต้องการของข้อมูลเท่านั้น 

ใบงาน เรื่อง การใช้โปรแกรม VB

  ประวัติความเป็นมาของภาษา Visual Basic           ภาษา BASIC ถูกสร้างในปี ค.ศ. 1963 โดย Hohn Keneny และ Thomas Kurtz ที่วิทยาลัย Dartmou...