ภาษา HTML
HTML ย่อมาจาก Hyper Text Markup Language
ความหมายของ HTML
HTML หรือ HyperText Markup Language เป็นภาษาคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง ที่มีลักษณะเป็นภาษาในเชิง การบรรยายเอกสารไฮเปอร์มีเดีย (Hypermedia Document Description Language) เพื่อนำเสนอเอกสารนั้น เผยแพร่ในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต มีโครงสร้างการเขียน ที่อาศัยตัวกำกับ เรียกว่า แท็ก (Tag) ควบคุมการแสดงผลของข้อความ, รูปภาพ หรือวัตถุอื่นๆ ผ่านโปรแกรมเว็บเบราเซอร์ (Web Browser)
รูปแบบการใช้คำสั่ง หรือ Tag
1. คำสั่ง หรือ Tag
Tag เป็นลักษณะเฉพาะของภาษา HTML ใช้ในการระบุรูปแบบคำสั่ง หรือการลงรหัสคำสั่ง HTML ภายในเครื่องหมาย less-than bracket ( < ) และ greater-than bracket ( > ) โดยที่ Tag HTML แบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ
Tag เดี่ยว เป็น Tag ที่ไม่ต้องมีการปิดรหัส เช่น <HR>, <BR> เป็นต้น
Tag เปิด/ปิด รูปแบบของ tag นี้จะเป็นแบบ <tag> .... </tag> โดยที่
<tag> เราเรียกว่า tag เปิด
</tag> เราเรียกว่า tag ปิด
ตัวอย่าง
อ้างอิง : https://www.hellomyweb.com/course/html/structure_of_html/
https://sites.google.com/a/bbw.ac.th/krupim-classroom/phasa-html
วันอังคารที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2561
วันจันทร์ที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2561
ใบงานที่ 5 ภาษาคอมพิวเตอร์์
ภาษาคอมพิวเตอร์
1.ความหมาย
ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใด ๆ ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้วคอมพิวเตอร์สามารถทำงานตามคำสั่งนั้นได้ คำนี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรม แต่ความเป็นจริงภาษาโปรแกรมคือส่วนหนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมีภาษาอื่น ๆ ที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น เอชทีเอ็มแอล เป็นทั้งภาษามาร์กอัปและภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย แม้ว่ามันจะไม่ใช่ภาษาโปรแกรม หรือภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยทางเทคนิคสามารถใช้ในการเขียนโปรแกรมได้ แต่ก็ไม่จัดว่าเป็นภาษาโปรแกรม
2.ภาษาคอมพิวเตอร์มีกี่ระดับ อะไรบ้าง พร้อมยกตัวอย่าง
ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใด ๆ ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้วคอมพิวเตอร์สามารถทำงานตามคำสั่งนั้นได้ คำนี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรม แต่ความเป็นจริงภาษาโปรแกรมคือส่วนหนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมีภาษาอื่น ๆ ที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น เอชทีเอ็มแอล เป็นทั้งภาษามาร์กอัปและภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย แม้ว่ามันจะไม่ใช่ภาษาโปรแกรม หรือภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยทางเทคนิคสามารถใช้ในการเขียนโปรแกรมได้ แต่ก็ไม่จัดว่าเป็นภาษาโปรแกรม
2.ภาษาคอมพิวเตอร์มีกี่ระดับ อะไรบ้าง พร้อมยกตัวอย่าง
- 2.1 ภาษาระดับต่ำ (Low Level Language) เป็นภาษาที่มนุษย์ทำความเข้าใจได้ยาก ส่วนใหญ่ต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ และฮาร์ดแวร์เป็นอย่างดีจึงจะสามารถเขียนโปรแกรมสั่งงานได้มีข้อดีในส่วนที่เขียนโปรแกรมควบคุมอาร์ดาแวร์แต่ละส่วนได้โดยตรงจึงทำงานได้เร็ว แต่ไม่เหมาะที่จะใช้ในการพัฒนาโปรแกรม ตัวอย่างของภาษาระดับต่ำได้แก่ ภาษาเครื่อง (Machine Language) และภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)เป็นต้น
Machine Language - Assembly Language - 2.2 ภาษาระดับกลาง (Medium Level Language) เป็นภาษาที่ทำความเข้าใจได้ไม่ยากนัก เพราะมีลักษณะ เป็นภาษาแบบโครงสร้าง ทำความเข้าใจได้เหมือนกับภาษาระดับสูงแต่ทำงานได้รวดเร็วเหมือนกับภาษาระดับต่ำ สามารถใช้บนเครื่องที่มีความเร็วต่างกันโดยไม่ต้องดัดแปลง ภาษาระดับกลางจึงเป็นที่นิยมใช้กันแพร่หลาย ตัวอย่างของภาษาระดับกลาง ได้แก่ ภาษาซี เป็นต้น
ภาษาซี
- 2.3.ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่ทำความเข้าใจได้ง่าย มีลักษณะของ
การใช้คำสั่งเป็นภาษาอังกฤษซึ่งใกล้เคียงกับภาษามนุษย์มากการสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานจะต้องมีการแปลความหมายของคำสั่งโดยใช้ตัวแปลภาษาทีละชุดคำสั่งที่เรียกว่า Interpreterหรือแปลครั้งเดียวทั้งโปรแกรมที่เรียกว่า Compiler
ภาษาปาสคาล (Pascal)
ภาษาเบสิก (Basic: Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code )
อ้างอิง : http://boonraong.blogspot.com/2011/02/3.html
https://sites.google.com/site/programcomputer56/home/phasa-khxmphiwtexr
https://sites.google.com/site/programcomputer56/home/phasa-khxmphiwtexr
วันอาทิตย์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2561
ใบงานที่4 โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง คำสั่งหรือชุดคำสั่ง ที่เขียนขึ้นมาเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามที่เราต้องการ เราจะให้คอมพิวเตอร์ทำอะไรก็เขียนเป็นคำสั่ง ซึ่งต้องสั่งเป็นขั้นตอนและแต่ละขั้นตอนต้องทำอย่างละเอียดและครบถ้วน ซึ่งจะเกิดเป็นงานชิ้นหนึ่งขึ้นมามีชื่อเรียกว่า "โปรแกรม" ซอฟต์แวร์จะแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 3ประเภท
1.โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Systems Software)
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง คำสั่งหรือชุดคำสั่ง ที่เขียนขึ้นมาเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามที่เราต้องการ เราจะให้คอมพิวเตอร์ทำอะไรก็เขียนเป็นคำสั่ง ซึ่งต้องสั่งเป็นขั้นตอนและแต่ละขั้นตอนต้องทำอย่างละเอียดและครบถ้วน ซึ่งจะเกิดเป็นงานชิ้นหนึ่งขึ้นมามีชื่อเรียกว่า "โปรแกรม" ซอฟต์แวร์จะแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 3ประเภท
1.โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Systems Software)
ระบบปฏิบัติการหรือโอเอส (OS :
Operating System) โปรแกรมประเภทนี้จะทำหน้าที่คอยดูแลระบบ
รวมทั้งติดต่อกับฮาร์ดแวร์ส่วนต่างๆ ควบคุมการทำงานของคีย์บอร์ด จอภาพ ระบบอ่านและบันทึกข้อมูล
ทำให้ผู้ใช้และผู้พัฒนาโปรแกรมต่างๆ ไม่ต้องเขียนโปรแกรมติดต่อกับระบบเอง
เช่นโปรแกรมประเภทนี้บางครั้งจะเรียกว่า ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Package Software) เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมาสำหรับงานเฉพาะด้าน มีการทำงานที่แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น โปรแกรมเกม , โปรแกรมบัญชี , โปรแกรมด้านดาต้าเบส , โปรแกรมกราฟฟิก , โปรแกรมอินเตอร์เน็ต และโปรแกรมประมวลผลคำ เป็นต้น
'
วันพฤหัสบดีที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2561
ใบงานที่ 3 การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาด้วยอัลกอริทึม
1.การเขียนรหัสจำลอง
(Pseudo Code)
รหัสจำลองหรือ Pseudo Code เป็นคำบรรยายที่เขียนแสดงขั้นตอนวิธี (algorithm) ของการเขียนโปรแกรม โดยใช้ภาษาที่กะทัดรัด สื่อสารกับโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม โดยอาจใช้ภาษาที่ใช้ทั่วไปและอาจมีภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมประกอบ แต่ไม่มีมาตรฐานแน่นอนในการเขียน pseudo code และไม่สามารถนำไปทำงานบนคอมพิวเตอร์โดยตรงและไม่ขึ้นกับภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง
รหัสจำลองหรือ Pseudo Code เป็นคำบรรยายที่เขียนแสดงขั้นตอนวิธี (algorithm) ของการเขียนโปรแกรม โดยใช้ภาษาที่กะทัดรัด สื่อสารกับโปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม โดยอาจใช้ภาษาที่ใช้ทั่วไปและอาจมีภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมประกอบ แต่ไม่มีมาตรฐานแน่นอนในการเขียน pseudo code และไม่สามารถนำไปทำงานบนคอมพิวเตอร์โดยตรงและไม่ขึ้นกับภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง
ตัวอย่าง
การเขียนผังงาน
(Flowchart)
1.ความหมาย (Flowchart)
ตอบ แผนภาพแสดงลำดับขั้นตอนการทำงานของ Algorithm, Workflow, Process เป็นเครื่องมือใช้การรวบรวมจัดลำดับความคิด เพื่อให้เห็นขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจนและใช้วางแผนการทำงานขั้นแรก โดยสัญลักษณ์ Flowchart แสดงถึงการทำงานลักษณะต่างๆ เชื่อมต่อกัน
2.สัญลักษณ์ ที่ใช้ในผังงาน
3.ตัวอย่าง
วันพุธที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2561
ใบงานที่ 2 : การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเเก้ปัญหามี 4 ขั้นตอน
1) การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา คือ
1) การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา คือ
การทำความเข้าใจกับปัญหาเพื่อแยกให้ออกว่าข้อมูลที่กำหนดมาในปัญหาหรือเงื่อนไขของปัญหาคืออะไร
2) การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี
ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนของการวางแผนในการแก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วน หลังจากที่เราทำความเข้าใจกับปัญหา
พิจารณาเงื่อนไขและข้อมูลที่มีอยู่และสิ่งที่ต้องการหาในการแก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วนหลังจากที่เราทำความเข้าใจกับปัญหา
พิจารณาเงื่อนไขและข้อมูลที่มีอยู่และสิ่งที่ต้องการหาในขั้นตอนที่ 1แล้วเราสามารถคาดคะเนวิธีการที่จะใช้ในการแก้ปัญหาขั้นตอนนี้จำเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ของผู้แก้ปัญหาเป็นหลักหากผู้แก้ปัญหาเคยพบกับปัญหาทำนองนี้มาแล้วก็สามารถดำเนินการตามแนวทางที่เคยปฏิบัติมา
3) การดำเนินการแก้ปัญหา
ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ต้องลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือที่เลือกไว้
4) การตรวจสอบและปรับปรุง
หลังจากที่ลงมือแก้ปัญหาแล้วต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่า วิธีการนี้ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องโดยผู้แก้ปัญหาต้องตรวจสอบว่าขั้นตอนวิธีที่สร้างขึ้นสอดคล้องกับรายละเอียดของปัญหา
ซึ่งได้แก่
ข้อมูลเข้าและข้อมูลออกเพื่อให้มั่นใจว่าสามารถรองรับข้อมูลเข้าได้ทุกกรณีอย่างถูกต้องสมบูรณ์
ในขณะเดียวกันก็ต้องปรับปรุงวิธีการเพื่อให้การแก้ปัญหานี้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด
ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนของการวางแผนในการแก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วน หลังจากที่เราทำความเข้าใจกับปัญหา พิจารณาเงื่อนไขและข้อมูลที่มีอยู่และสิ่งที่ต้องการหาในการแก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วนหลังจากที่เราทำความเข้าใจกับปัญหา พิจารณาเงื่อนไขและข้อมูลที่มีอยู่และสิ่งที่ต้องการหาในขั้นตอนที่ 1แล้วเราสามารถคาดคะเนวิธีการที่จะใช้ในการแก้ปัญหาขั้นตอนนี้จำเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ของผู้แก้ปัญหาเป็นหลักหากผู้แก้ปัญหาเคยพบกับปัญหาทำนองนี้มาแล้วก็สามารถดำเนินการตามแนวทางที่เคยปฏิบัติมา
ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ต้องลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือที่เลือกไว้
หลังจากที่ลงมือแก้ปัญหาแล้วต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่า วิธีการนี้ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องโดยผู้แก้ปัญหาต้องตรวจสอบว่าขั้นตอนวิธีที่สร้างขึ้นสอดคล้องกับรายละเอียดของปัญหา ซึ่งได้แก่ ข้อมูลเข้าและข้อมูลออกเพื่อให้มั่นใจว่าสามารถรองรับข้อมูลเข้าได้ทุกกรณีอย่างถูกต้องสมบูรณ์ ในขณะเดียวกันก็ต้องปรับปรุงวิธีการเพื่อให้การแก้ปัญหานี้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด
วันอังคารที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2561
My Profile
ชื่อ : ปภพ พฤทธิพงศ์สิทธิ์
ชื่อเล่น : ภพ
อายุ : 15ปี
เกิดวันที่ : 18 เมษายน พ.ศ.2545
สัญชาติ : ไทย
ศาสนา : พุทธ
งานอดิเรก : เล่นเกม/ดูโทรทัศน์/อ่านหนังสือ/ใช้เงิน
กีฬาที่ชอบ : เทนนิส/แบดมินตัน/ปิงปอง
ดนตรีที่เล่น : Guitar
อาหารที่ชอบ : ข้าวไข่เจียวหมูสับ
สีที่ชอบ : สีเขียวอ่อน
วิชาที่ชอบ : คณิตศาสตร์ / English
Email : Papop122@gmail.com
ชื่อเล่น : ภพ
อายุ : 15ปี
เกิดวันที่ : 18 เมษายน พ.ศ.2545
สัญชาติ : ไทย
ศาสนา : พุทธ
งานอดิเรก : เล่นเกม/ดูโทรทัศน์/อ่านหนังสือ/ใช้เงิน
กีฬาที่ชอบ : เทนนิส/แบดมินตัน/ปิงปอง
ดนตรีที่เล่น : Guitar
อาหารที่ชอบ : ข้าวไข่เจียวหมูสับ
สีที่ชอบ : สีเขียวอ่อน
วิชาที่ชอบ : คณิตศาสตร์ / English
Email : Papop122@gmail.com
วันจันทร์ที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2561
ใบงานที่1 เรื่องกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
คือ
ขั้นตอนการแก้ปัญหาหรือตอบสนองต่อความต้องการซึ่งจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากทรัพยากรให้เป็นผลผลิตหรือผลลัพธ์ระบบเทคโนโลยีประกอบด้วยกระบวนการเทคโนโลยีก่อให้เกิดประโยชน์ใช้สอย ตามที่มนุษย์ต้องการและเปลี่ยนแปลงการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำกิจกรรมต่างๆของมนุษย์ เพราะมนุษย์มีความต้องการในการสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆในการดำรงชีวิต ซึ่งจะนำไปสู่ปัญหาที่อาจเกิดจากการประดิษฐ์คิดค้นต่างๆที่มนุษย์สร้างขึ้น และบางครั้งปัญหาอาจเกิดการผลิตสิ่งของต่างๆไม่ตรงตามความต้องการไม่ได้คุณภาพจึงต้องมีการออกแบบ
เพื่อจะนำมาแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นดังกล่าว.
การเเก้ปัญหามี 4 ขั้นตอน
1) การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา คือ
การทำความเข้าใจกับปัญหาเพื่อแยกให้ออกว่าข้อมูลที่กำหนดมาในปัญหาหรือเงื่อนไขของปัญหาคืออะไร
2) การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี
ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนของการวางแผนในการแก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วน หลังจากที่เราทำความเข้าใจกับปัญหา
พิจารณาเงื่อนไขและข้อมูลที่มีอยู่และสิ่งที่ต้องการหาในการแก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วนหลังจากที่เราทำความเข้าใจกับปัญหา
พิจารณาเงื่อนไขและข้อมูลที่มีอยู่และสิ่งที่ต้องการหาในขั้นตอนที่ 1แล้วเราสามารถคาดคะเนวิธีการที่จะใช้ในการแก้ปัญหาขั้นตอนนี้จำเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ของผู้แก้ปัญหาเป็นหลักหากผู้แก้ปัญหาเคยพบกับปัญหาทำนองนี้มาแล้วก็สามารถดำเนินการตามแนวทางที่เคยปฏิบัติมา
3) การดำเนินการแก้ปัญหา
ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ต้องลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือที่เลือกไว้
4) การตรวจสอบและปรับปรุง
หลังจากที่ลงมือแก้ปัญหาแล้วต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่า วิธีการนี้ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องโดยผู้แก้ปัญหาต้องตรวจสอบว่าขั้นตอนวิธีที่สร้างขึ้นสอดคล้องกับรายละเอียดของปัญหา ซึ่งได้แก่
ข้อมูลเข้าและข้อมูลออกเพื่อให้มั่นใจว่าสามารถรองรับข้อมูลเข้าได้ทุกกรณีอย่างถูกต้องสมบูรณ์
ในขณะเดียวกันก็ต้องปรับปรุงวิธีการเพื่อให้การแก้ปัญหานี้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด
ยกตัวอย่างปัญหา 1 ปัญหา พร้อมด้วยวิธีการแก้ไขปัญหาเป็นลำดับขั้นตอน
1.การกำหนดปัญหา : เนื่องเส้นทางไปโรงเรียนนั้นไกลมากจึงทำให้ไปโรงเรียนสายอยู่เสมอ
2.การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี :
2.1 ให้พยายามตื่นให้เช่าๆ แล้วทำธุระส่วนตัวให้เสร็จ
2.2 เดินทางออกจากบ้านด้วยเวลาที่เช่ากว่าเดิม
2.3 หรือลองมองหาเส้นทางใหม่ที่ทำให้สามารถถึงโรงเรียนได้เร็วกว่าเดิม
3.การดำเนินการแก้ปัญหา : ทำการแก้ไขปัญหาตามขั้นตอนที่สร้างไว้
4.การตรวจสอบและปรับปรุง : สามารถไปโรงเรียนได้เร็วกว่าเดิม
วันอาทิตย์ที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2561
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
ใบงาน เรื่อง การใช้โปรแกรม VB
ประวัติความเป็นมาของภาษา Visual Basic ภาษา BASIC ถูกสร้างในปี ค.ศ. 1963 โดย Hohn Keneny และ Thomas Kurtz ที่วิทยาลัย Dartmou...
-
1.เว็บบราวเซอร์ (Web Browser) หมายถึงอะไร ตอบ เบราว์เซอร์ หรือ โปรแกรมค้นดูเว็บ คือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ผู้ใช้สามารถดูข้อมูล...
-
ภาษาคอมพิวเตอร์ 1.ความหมาย ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษา ใด ๆ ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แ...
-
ประวัติความเป็นมาของภาษา Visual Basic ภาษา BASIC ถูกสร้างในปี ค.ศ. 1963 โดย Hohn Keneny และ Thomas Kurtz ที่วิทยาลัย Dartmou...